กฎนิวตัน

สรุปเรื่อง กฎนิวตัน คืออะไร กฎนิวตัน มีที่มาจาก เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton) ซึ่งเป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่มีความสนใจเรื่องดาราศาสตร์ และประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง (Reflecting telescope) ขึ้นโดยใช้โลหะเงาเว้าในการรวมแสง แทนการใช้เลนส์ เช่น ในกล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง (Refracting telescope) นิวตันติดใจในปริศนาที่ว่า แรงอะไรทำให้ผลแอปเปิลตกสู่พื้นดินและตรึงดวงจันทร์ไว้กับโลก และสิ่งนี้เองที่ทำให้เขาค้นพบกฎที่สำคัญ 3 ข้อ คือ กฎข้อที่ 1 : ΣF = 0 หรือ กฎของความเฉื่อย  “วัตถุจะรักษาสภาพหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ในทิศทางเดิมก็ต่อเมื่อ แรงลัพธ์ที่มากระทำ ต่อวัตถุมีค่าเท่ากับศูนย์” อธิบายได้ว่า “วัตถุจะรักษาสภาวะอยู่นิ่งหรือสภาวะเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอในแนวเส้นตรง นอกจากมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำ” คือ ถ้าวัตถุอยู่นิ่งก็ยังคงอยู่นิ่งเหมือนเดิม และถ้าวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ก็จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ความเร็วคงที่ หรือความเร่งจะเป็นศูนย์ ซึ่งกรณีแรกจะเรียกว่า วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลสถิต (static equilibrium) และอีกกรณีหลังจะเรียกว่า วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลจลน์ (kinetic […]

ฟิสิกส์ ม.ปลาย การเคลื่อนที่แนวตรง

สรุปเนื้อหา การเคลื่อนที่แนวตรง คืออะไร การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (Rectilinear motion) คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนวเส้นตรงซึ่งมีความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว เวลา ความเร่ง และระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ โดยการเคลื่อที่แนวตรงนั้นมีทั้งหมด 2 แบบ ได้แก่ การเคลื่อนที่ในแนวราบ เป็นการเคลื่อนที่แบบไปซ้ายหรือขวา หรือไปข้างหน้าหรือหลัง ทิศทางหลัก ๆ จะเป็นเส้นตรง การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง หรือการตกแบบอิสระ   ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ 1. การกระจัดและระยะทาง เป็นปริมาณที่บ่งบอกถึงระยะห่างระหว่าง จุดเริ่มต้น และ จุดสุดท้าย ดังนั้น สิ่งนี้จะสามารถบอกได้ว่าวัตถุที่เราสนใจเคลื่อนที่จากจุดเริ่มต้นมาไกลแค่ไหน ข้อควรรู้ ระยะทาง (Distance) คือ ระยะทั้งหมดของการเคลื่อนที่จริง ๆ จะเป็นปริมาณสเกลาร์ มีแค่ขนาด ไม่มีทิศทาง การกระจัด (Displacement) คือ ปริมาณที่บอกระยะห่างของจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้าย จะเป็นปริมาณเวกเตอร์ เพราะมีทั้งขนาดและทิศทาง การกระจัดมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับระยะทางเสมอ การกระจัดส่วนใหญ่มักมีขนาดที่น้อยกว่าระยะทาง (โดยกรณีที่จุดเริ่มต้นกับจุดสุดท้ายห่างกันเป็นเส้นตรง การกระจัดและระยะทางจะมีขนาดเท่ากัน) ระยะทางและการกระจัดจะมีหน่วยวัดเป็นเมตร (m) 2. […]

เนื้อหา ฟิสิกส์ ม.ปลาย ม.4 ม.5 ม.6 เรียนอะไร

ฟิสิกส์ ม.ปลาย ม.4 ม.5 ม.6 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? สถิติข้อสอบ ฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์ การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฏการเคลื่อนที่   ฟิสิกส์ ม.4 เทอม 2 สมดุลกล งานและพลังงาน โมเมนตัมและการชน การเคลื่อนที่แนวโค้ง ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คลื่น แสงเชิงคลื่นและแสงเชิงรังสี ฟิสิกส์ ม.5 เทอม 2 เสียง ไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้ากระแส ฟิสิกส์ ม.6 เทอม 1 แม่เหล็กและไฟฟ้า ความร้อนและแก๊ส ของแข็งและของไหล ฟิสิกส์ ม.6 เทอม 2 ฟิสิกส์อะตอม ฟิสิกส์นิวเคลียร์และฟิสิกส์อนุภาค   สรุปเนื้อหา ฟิสิกส์ ม.4 เทอม […]

ฟิสิกส์ ม.6

เนื้อหา ฟิสิกส์ ม.6 หลักสูตร 2565 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? สำหรับ ฟิสิกส์ ม.6 จะเรียนฟิสิกส์ เรื่อง แม่เหล็กและไฟฟ้า , ความร้อนและแก๊ส , ของแข็งและของไหล , ฟิสิกส์อะตอม , ฟิสิกส์นิวเคลียร์และฟิสิกส์อนุภาค โดยบทเรียนอาจจะมีการนำเรื่อง ฟิสิกส์ ม.4  ฟิสิกส์ ม.5 บ้างส่วนเช่น การเคลื่อนที่แนวตรง , แรงและการเคลื่อนที่ , การเคลื่อนที่แบบต่างๆ, งานและพลังงาน , โมเมนตัมและการชน , การเคลื่อนที่แบบหมุน , สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น , การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย , คลื่นกล , คลื่นเสียง , แสง  , เสียง , ไฟฟ้าสถิต , ไฟฟ้ากระแสตรง , ไฟฟ้ากระแสสลับ มาอยู่ในบทเรียนด้วยเพราะถือว่าเป็นเนื้อหาที่เรียนมาแล้ว […]

ฟิสิกส์ ม.5

เนื้อหา ฟิสิกส์ ม.5 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? ฟิสิกส์ ม.5 จะเรียนเรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย , คลื่นกล , คลื่นเสียง , แสง  , เสียง , ไฟฟ้าสถิต , ไฟฟ้ากระแสตรง , ไฟฟ้ากระแสสลับ ในบทเรียนอาจจะมีการนำเรื่องที่น้องๆ เคยเรียนมาแล้วตอน ฟิสิกส์ ม.4  มาอยู่ในเนื้อหาด้วยเช่น การเคลื่อนที่แนวตรง , แรงและการเคลื่อนที่ , การเคลื่อนที่แบบต่างๆ, งานและพลังงาน , โมเมนตัมและการชน , การเคลื่อนที่แบบหมุน , สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น และจะเป็นการปูพื้นฐาน เนื้อหา ฟิสิกส์ ม.6 ที่จะเรียน แม่เหล็กและไฟฟ้า , ความร้อนและแก๊ส , ของแข็งและของไหล , ฟิสิกส์อะตอม , ฟิสิกส์นิวเคลียร์และฟิสิกส์อนุภาค หมายเหตุ : […]

ฟิสิกส์ ม.4

เนื้อหา ฟิสิกส์ ม.4 หลักสูตร 2565 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? ฟิสิกส์ ม.4 ถือว่าเป็นบทเรียนที่สำคัญมาก เพราะจะเป็นพื้นฐานสำหรับการเรียน ฟิสิกส์ ม.5 , ฟิสิกส์ ม.6 โดยน้องๆ ม.4 จะเรียนพื้นฐานของฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง , แรงและการเคลื่อนที่ , การเคลื่อนที่แบบต่างๆ, งานและพลังงาน , โมเมนตัมและการชน , การเคลื่อนที่แบบหมุน , สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น  ซึ่งจะเป็นบทเรียนพื้นฐานสำหรับในการเรียน ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย , คลื่นกล , คลื่นเสียง , แสง  , เสียง , ไฟฟ้าสถิต , ไฟฟ้ากระแสตรง , ไฟฟ้ากระแสสลับ , แม่เหล็กและไฟฟ้า , ความร้อนและแก๊ส , ของแข็งและของไหล […]

1 2 3