ไฟฟ้าสถิต

Dig deeper into :
ไฟฟ้าสถิต
ฟิสิกส์ ม.5

ฟิสิกส์ ม.5

Reading Time: < 1 minuteเนื้อหา ฟิสิกส์ ม.5 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? ฟิสิกส์ ม.5 จะเรียนเรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย , คลื่นกล , คลื่นเสียง , แสง  , เสียง , ไฟฟ้าสถิต , ไฟฟ้ากระแสตรง , ไฟฟ้ากระแสสลับ ในบทเรียนอาจจะมีการนำเรื่องที่น้องๆ เคยเรียนมาแล้วตอน ฟิสิกส์

ไฟฟ้าสถิต

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าสถิต คืออะไร พร้อมข้อสอบ

Reading Time: 3 minutesสรุปเนื้อหาเรื่อง ไฟฟ้าสถิต คืออะไร ไฟฟ้าสถิต หรือ Static electricity เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สมดุลของปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบภายในวัสดุหรือบนพื้นผิวของวัสดุ ซึ่งประจุไฟฟ้าเหล่านั้นจะยังคงอยู่จนกระทั่งเกิดการเคลื่อนที่หรือมีการถ่ายเทประจุ (Electrostatic Discharge)   โดยปกติแล้ววัสดุทุกชนิดมีความเป็นกลางทางไฟฟ้า (มีปริมาณของประจุบวกและประจุลบอย่างละเท่า ๆ กัน) แต่หากมีการขัดถู สัมผัส หรือเสียดสีกันระหว่างวัสดุก็จะทำให้ประจุไฟฟ้าเหล่านี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้าหรือที่เรียกว่า ฉนวน เช่น การนำลูกโป่งมาถูกับเส้นผม หรือการสัมผัสกันระหว่างรองเท้าหนังและพรมเช็ดเท้า สิ่งเหล่านี้จะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไฟฟ้า เป็นผลให้เกิดความไม่สมดุลของจำนวนประจุบวกและประจุลบในวัสดุแต่ละชิ้น

ฟิสิกส์ ม.5

ฟิสิกส์ ม.5

Reading Time: < 1 minuteเนื้อหา ฟิสิกส์ ม.5 เรียนเรื่องอะไรบ้าง? ฟิสิกส์ ม.5 จะเรียนเรื่อง การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย , คลื่นกล , คลื่นเสียง , แสง  , เสียง , ไฟฟ้าสถิต , ไฟฟ้ากระแสตรง , ไฟฟ้ากระแสสลับ ในบทเรียนอาจจะมีการนำเรื่องที่น้องๆ เคยเรียนมาแล้วตอน ฟิสิกส์

ไฟฟ้าสถิต

สรุป ฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าสถิต คืออะไร พร้อมข้อสอบ

Reading Time: 3 minutesสรุปเนื้อหาเรื่อง ไฟฟ้าสถิต คืออะไร ไฟฟ้าสถิต หรือ Static electricity เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สมดุลของปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบภายในวัสดุหรือบนพื้นผิวของวัสดุ ซึ่งประจุไฟฟ้าเหล่านั้นจะยังคงอยู่จนกระทั่งเกิดการเคลื่อนที่หรือมีการถ่ายเทประจุ (Electrostatic Discharge)   โดยปกติแล้ววัสดุทุกชนิดมีความเป็นกลางทางไฟฟ้า (มีปริมาณของประจุบวกและประจุลบอย่างละเท่า ๆ กัน) แต่หากมีการขัดถู สัมผัส หรือเสียดสีกันระหว่างวัสดุก็จะทำให้ประจุไฟฟ้าเหล่านี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้าหรือที่เรียกว่า ฉนวน เช่น การนำลูกโป่งมาถูกับเส้นผม หรือการสัมผัสกันระหว่างรองเท้าหนังและพรมเช็ดเท้า สิ่งเหล่านี้จะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไฟฟ้า เป็นผลให้เกิดความไม่สมดุลของจำนวนประจุบวกและประจุลบในวัสดุแต่ละชิ้น