เคมี ม.ปลาย

Dig deeper into :
เคมี ม.ปลาย
เคมีกับการแก้ปัญหา

เคมีกับการแก้ปัญหา

เคมีกับการแก้ปัญหา คืออะไร เคมีกับการแก้ปัญหา คือ การนำความรู้ทางเคมีที่เราได้เรียนมานำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ การสังเกตุและระบุปัญหา ซึ่งแน่นอนว่าจะต้องมีปัญหาเกิดขึ้นก่อน เช่น ปลาในแหล่งน้ำตายเป็นจำนวนมากผิดปกติ ตั้งสมมติฐาน ซึ่งก็คือ การทำนายหรือการคาดคะเนคำตอบของปัญหานั้นล่วงหน้าแล้วว่าคืออะไร ซึ่งแน่นอนว่าในขั้นตอนนี้ หากเรามีความรู้ทางด้านเคมีอย่างครบถ้วน ก็จำทพให้คาดคะเนได้อย่างมีเหตุมีผล เช่น ที่ปลาในแหล่งน้ำตายเป็นจำนวนมาก น่าจะมาจากอากาศ โรคติดต่อ หรือสภาพของน้ำที่เน่าเสีย

สารชีวโมเลกุล

เคมี สารชีวโมเลกุล

สรุปเนื้อหา สารชีวโมเลกุล คืออะไร สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) คือ สารที่พบได้ในสิ่งมีชีวิตทั่วไป โดยมีธาตุคาร์บอนด์ ไฮโดรเจน และออกซิเจนเป็นองค์ประกอบหลัก เช่น ไขมันและน้ำมัน กรดไขมัน โปรตีน เอนไซม์ และคาร์โบไฮเดรต   1. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) เป็นสารชีวโมเลกุลที่มีรากศัพท์มาจากคำว่าคาร์บอน(carbon) และคำว่า ไฮเดรต(hydrate) อิ่มตัวไปด้วยน้ำ ซึ่งรวมกันก็หมายถึงคาร์บอนที่อิมตัวไปด้วยน้ำ

แก๊สและสมบัติของแก๊ส

เคมี แก๊สและสมบัติของแก๊ส

แก๊ส คืออะไร แก๊ส เป็นสถานะอย่างหนึ่งของสสาร ลักษณะของแก๊สจะไม่มีรูปร่างหรือปริมาตรที่แน่นอน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย ทำให้มีการฟุ้งกระจาย เพราะโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วและไม่มีทิศทางที่แน่นอน เมื่อเคลื่อนที่ไปชนกับผนังภาชนะ จะทำให้เกิดความดัน สามารถถูกอัดได้ง่ายและมากกว่าของเหลว ถ้าแก๊สมีการเปลี่ยนอุณหภูมิและความดันก็จะทำให้ปริมาตรเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยปริมาตรของแก๊สจะแปลผกผันกับความดันที่มากระทำ และเมื่อนำแก๊สหลายชนิดมาใส่ในภาชนะเดียวกัน ก็จะเกิดการรวมกันเป็นเนื้อเดียวอย่างสมบูรณ์   สมบัติของแก๊ส 1. แก๊สมีรูปร่างเป็นปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ เมื่อบรรจุในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างเป็นปริมาตรตามภาชนะนั้น เช่น ถ้าบรรจุในภาชนะทรงกลมขนาด 1 ลิตร

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

เคมี เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

สรุปเนื้อหา เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ คืออะไร เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ หมายถึง เชื้อเพลิงที่เปลี่ยนสภาพจากสิ่งมีชีวิตในยุคต่างๆ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาและธรณีเคมี เช่น น้ำมัน แก๊ส ถ่านหิน 1. ถ่านหิน มีองค์ประกอบหลัก คือ ธาตุคาร์บอน และธาตุอื่น ๆ เช่น ออกซิเจน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และกำมะถัน และอาจมีธาตุ ปรอท

พอลิเมอร์

เคมี พอลิเมอร์

สรุปเนื้อหา พอลิเมอร์ คืออะไร พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วย หน่วยเล็ก ๆ ของสารที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ ซึ่งหน่วยเล็ก ๆ ของสารในพอลิเมอร์นั้นเรียกว่า มอนอเมอร์ (Monomer)   พอลิเมอร์ มี่กี่ประเภท 1. กรณีแบ่งตามแหล่งกำเนิดของพอลิเมอร์ จะมี 2 ประเภท ได้แก่ 1.1

เคมีอินทรีย์

เคมี เคมีอินทรีย์

สรุปเนื้อหา เคมีอินทรีย์ คืออะไร เคมีอินทรีย์ คือ การศึกษาเกี่ยวกับชนิด สมบัติ การสังเคราะห์และปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย์ โดยสารอินทรีย์ คือ สารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก และมีธาตุอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบร่วม ดังนั้น “สารประกอบอินทรีย์” จึงหมายถึง สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบทั้งที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและเกิดจากการสังเคราะห์จากสิ่งไม่มีชีวิต ยกเว้น ออกไซด์ของคาร์บอน เช่น CO2, CO เกลือคาร์บอเนต และไฮโดรเจนคาร์บอเนต

ไฟฟ้าเคมี

เคมี ไฟฟ้าเคมี

สรุปเนื้อหา ไฟฟ้าเคมี คืออะไร ไฟฟ้าเคมี เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามการถ่ายเทของอิเล็กตรอน คือ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) และปฏิกิริยาที่ไม่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยานอนรีดอกซ์ (Nonredox Reaction)   โดยปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) ก็คือ

กรด-เบส

เคมี กรด-เบส

สรุปเนื้อหา กรด-เบส คืออะไร นิยามของ กรด-เบส นั้น มีหลายแนวคิดด้วยกัน ดังนี้ 1. Arrhenius Concept มีใจความว่า “กรด คือ สารประกอบที่มี H และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ H+ หรือ H3O+ ส่วนเบส คือ สารประกอบที่มี OH และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้

สมดุลเคมี

เคมี สมดุลเคมี

สรุปเนื้อหา สมดุลเคมี คืออะไร สมดุลเคมี คือ สภาวะที่ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงอีกแม้เวลาผ่านไป ซึ่งเราจะเรียกว่า “ปฏิกิริยาเคมีนั้นอยู่ในสมดุล (equilibrium)” ทั้งนี้ การดำเนินไปของปฏิริยาไม่ได้สิ้นสุดลง แต่ระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เรียกว่า สมดุลไดนามิก (dynamic equilibrium) การเปลี่ยนแปลงของระบบดังกล่าว ในทางวิทยาศาสตร์นั้นจะมี 3 รูปแบบ คือ การเปลี่ยนสถานะ, การละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งจำแนกเป็น

ปริมาณสารสัมพันธ์

เคมี ปริมาณสารสัมพันธ์

ปริมาณสารสัมพันธ์ คืออะไร ปริมาณสารสัมพันธ์ (Stoichiometry) มาจากการผสมภาษากรีก โดยคำว่า “stoicheion แปลว่า ธาตุ” ส่วนคำว่า “metron แปลว่า การวัด” ดังนั้น ปริมาณสารสัมพันธ์ จึงหมายถึง การวัดปริมาณของสารต่าง ๆ โดยเฉพาะปริมาณของสารที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทั้งของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ตลอดจนปริมาณของพลังงานของสารที่เปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยาเคมี   สรุปเนื้อหา ปริมาณสารสัมพันธ์ การศึกษาเรื่องปริมาณสารสัมพันธ์ (Stoichiometry) จะช่วยให้สามารถคาดคะเนหรือคำนวณปริมาณของสารที่ต้องใช้เป็นสารตั้งต้น

เคมีกับการแก้ปัญหา

เคมีกับการแก้ปัญหา

เคมีกับการแก้ปัญหา คืออะไร เคมีกับการแก้ปัญหา คือ การนำความรู้ทางเคมีที่เราได้เรียนมานำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ การสังเกตุและระบุปัญหา ซึ่งแน่นอนว่าจะต้องมีปัญหาเกิดขึ้นก่อน เช่น ปลาในแหล่งน้ำตายเป็นจำนวนมากผิดปกติ ตั้งสมมติฐาน ซึ่งก็คือ การทำนายหรือการคาดคะเนคำตอบของปัญหานั้นล่วงหน้าแล้วว่าคืออะไร ซึ่งแน่นอนว่าในขั้นตอนนี้ หากเรามีความรู้ทางด้านเคมีอย่างครบถ้วน ก็จำทพให้คาดคะเนได้อย่างมีเหตุมีผล เช่น ที่ปลาในแหล่งน้ำตายเป็นจำนวนมาก น่าจะมาจากอากาศ โรคติดต่อ หรือสภาพของน้ำที่เน่าเสีย

สารชีวโมเลกุล

เคมี สารชีวโมเลกุล

สรุปเนื้อหา สารชีวโมเลกุล คืออะไร สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) คือ สารที่พบได้ในสิ่งมีชีวิตทั่วไป โดยมีธาตุคาร์บอนด์ ไฮโดรเจน และออกซิเจนเป็นองค์ประกอบหลัก เช่น ไขมันและน้ำมัน กรดไขมัน โปรตีน เอนไซม์ และคาร์โบไฮเดรต   1. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) เป็นสารชีวโมเลกุลที่มีรากศัพท์มาจากคำว่าคาร์บอน(carbon) และคำว่า ไฮเดรต(hydrate) อิ่มตัวไปด้วยน้ำ ซึ่งรวมกันก็หมายถึงคาร์บอนที่อิมตัวไปด้วยน้ำ

แก๊สและสมบัติของแก๊ส

เคมี แก๊สและสมบัติของแก๊ส

แก๊ส คืออะไร แก๊ส เป็นสถานะอย่างหนึ่งของสสาร ลักษณะของแก๊สจะไม่มีรูปร่างหรือปริมาตรที่แน่นอน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย ทำให้มีการฟุ้งกระจาย เพราะโมเลกุลเคลื่อนที่ด้วยความเร็วและไม่มีทิศทางที่แน่นอน เมื่อเคลื่อนที่ไปชนกับผนังภาชนะ จะทำให้เกิดความดัน สามารถถูกอัดได้ง่ายและมากกว่าของเหลว ถ้าแก๊สมีการเปลี่ยนอุณหภูมิและความดันก็จะทำให้ปริมาตรเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยปริมาตรของแก๊สจะแปลผกผันกับความดันที่มากระทำ และเมื่อนำแก๊สหลายชนิดมาใส่ในภาชนะเดียวกัน ก็จะเกิดการรวมกันเป็นเนื้อเดียวอย่างสมบูรณ์   สมบัติของแก๊ส 1. แก๊สมีรูปร่างเป็นปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ เมื่อบรรจุในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างเป็นปริมาตรตามภาชนะนั้น เช่น ถ้าบรรจุในภาชนะทรงกลมขนาด 1 ลิตร

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

เคมี เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

สรุปเนื้อหา เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ คืออะไร เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ หมายถึง เชื้อเพลิงที่เปลี่ยนสภาพจากสิ่งมีชีวิตในยุคต่างๆ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาและธรณีเคมี เช่น น้ำมัน แก๊ส ถ่านหิน 1. ถ่านหิน มีองค์ประกอบหลัก คือ ธาตุคาร์บอน และธาตุอื่น ๆ เช่น ออกซิเจน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และกำมะถัน และอาจมีธาตุ ปรอท

พอลิเมอร์

เคมี พอลิเมอร์

สรุปเนื้อหา พอลิเมอร์ คืออะไร พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วย หน่วยเล็ก ๆ ของสารที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ ซึ่งหน่วยเล็ก ๆ ของสารในพอลิเมอร์นั้นเรียกว่า มอนอเมอร์ (Monomer)   พอลิเมอร์ มี่กี่ประเภท 1. กรณีแบ่งตามแหล่งกำเนิดของพอลิเมอร์ จะมี 2 ประเภท ได้แก่ 1.1

เคมีอินทรีย์

เคมี เคมีอินทรีย์

สรุปเนื้อหา เคมีอินทรีย์ คืออะไร เคมีอินทรีย์ คือ การศึกษาเกี่ยวกับชนิด สมบัติ การสังเคราะห์และปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย์ โดยสารอินทรีย์ คือ สารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก และมีธาตุอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบร่วม ดังนั้น “สารประกอบอินทรีย์” จึงหมายถึง สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบทั้งที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตและเกิดจากการสังเคราะห์จากสิ่งไม่มีชีวิต ยกเว้น ออกไซด์ของคาร์บอน เช่น CO2, CO เกลือคาร์บอเนต และไฮโดรเจนคาร์บอเนต

ไฟฟ้าเคมี

เคมี ไฟฟ้าเคมี

สรุปเนื้อหา ไฟฟ้าเคมี คืออะไร ไฟฟ้าเคมี เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีที่ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามการถ่ายเทของอิเล็กตรอน คือ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) และปฏิกิริยาที่ไม่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยานอนรีดอกซ์ (Nonredox Reaction)   โดยปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox Reaction) ก็คือ

กรด-เบส

เคมี กรด-เบส

สรุปเนื้อหา กรด-เบส คืออะไร นิยามของ กรด-เบส นั้น มีหลายแนวคิดด้วยกัน ดังนี้ 1. Arrhenius Concept มีใจความว่า “กรด คือ สารประกอบที่มี H และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ H+ หรือ H3O+ ส่วนเบส คือ สารประกอบที่มี OH และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้

สมดุลเคมี

เคมี สมดุลเคมี

สรุปเนื้อหา สมดุลเคมี คืออะไร สมดุลเคมี คือ สภาวะที่ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ไม่เปลี่ยนแปลงอีกแม้เวลาผ่านไป ซึ่งเราจะเรียกว่า “ปฏิกิริยาเคมีนั้นอยู่ในสมดุล (equilibrium)” ทั้งนี้ การดำเนินไปของปฏิริยาไม่ได้สิ้นสุดลง แต่ระบบยังคงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เรียกว่า สมดุลไดนามิก (dynamic equilibrium) การเปลี่ยนแปลงของระบบดังกล่าว ในทางวิทยาศาสตร์นั้นจะมี 3 รูปแบบ คือ การเปลี่ยนสถานะ, การละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งจำแนกเป็น

ปริมาณสารสัมพันธ์

เคมี ปริมาณสารสัมพันธ์

ปริมาณสารสัมพันธ์ คืออะไร ปริมาณสารสัมพันธ์ (Stoichiometry) มาจากการผสมภาษากรีก โดยคำว่า “stoicheion แปลว่า ธาตุ” ส่วนคำว่า “metron แปลว่า การวัด” ดังนั้น ปริมาณสารสัมพันธ์ จึงหมายถึง การวัดปริมาณของสารต่าง ๆ โดยเฉพาะปริมาณของสารที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทั้งของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ตลอดจนปริมาณของพลังงานของสารที่เปลี่ยนแปลงในปฏิกิริยาเคมี   สรุปเนื้อหา ปริมาณสารสัมพันธ์ การศึกษาเรื่องปริมาณสารสัมพันธ์ (Stoichiometry) จะช่วยให้สามารถคาดคะเนหรือคำนวณปริมาณของสารที่ต้องใช้เป็นสารตั้งต้น